นางสาวอนุสรา บุญเฟรือง
ข้อตกลง PA และรายงานผลการปฏิบัติงาน
ผลงานประเมิน PA
นางสาวอนุสรา บุญเฟรือง
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒
ประวัติส่วนตัวผู้รับประเมิน
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ก.ค.ศ. กำหนด
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 19 ชั่วโมง/สัปดาห์ ดังนี้
รายวิชา พระพุทธศาสนา จำนวน 10 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชา สังคมศึกษา ม.1 จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชา สังคมศึกษา ม.2 จำนวน 8 ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
- กิจกรรมสังคมและสาธารณประโยชน์ จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
- กิจกรรมชุมนุมบริษัทสร้างการดี จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 10 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 6 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์
ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทาย ในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
ประเด็นท้าทาย เรื่อง การแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาพระพุทธศาสนาด้วยแผนผังความคิด (Mind Mapping) เรื่อง อริยสัจ 4 ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Leaming)
สภาพปัญหาของผู้เรียนและการจัดการเรียนรู้
ในการจัดการเรียนรู ้รายวิชาพระพุทธศาสนา เรื่อง อริยสัจ 4 ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ผ่านมา พบว่าผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนอยู่ในเกณฑ์ต่ำ นักเรียนบางคนไม่กล้าคิดและ ร่วมแสดงความคิดเห็น ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง ขาดทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น ทั้งนี้ครูผู้สอนจึงได้ค้นหาแนว ทางแก้ไขการจัดการเรียนรู ้รายวิชาพระพุทธศาสนา เพื ่อยกระดับผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนอีกทั ้งยังส่งเสริมและ จัดการเรียนการสอนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ(Cooperative Learning) เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนที ่แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ ่มย่อย ส่งเสริมให้นักเรียนทำงานร่วมกันโดยในกลุ ่มประกอบด้วยสมาชิกที่มี ความสามารถแตกต่างกัน มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น มีการช่วยเหลือพึ่งพาซึ่งกันและกัน และมีความรับผิดชอบร่วมกัน ทั้งในส่วนตนและส่วนรวม เพื่อให้ตนเองและสมาชิกทุกคนในกลุ่มประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว
ด้านที่ ๑ ด้านการจัดการเรียนรู้
::: ลักษณะงาน :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๑ ด้านการจัดการเรียนรู้
::: 1.1 สร้างและพัฒนาหลักสูตร :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๑ ด้านการจัดการเรียนรู้
::: 1.2 การออกแบบการจัดการเรียนรู้ :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๑ ด้านการจัดการเรียนรู้
::: 1.3 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๑ ด้านการจัดการเรียนรู้
::: 1.4 สร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๑ ด้านการจัดการเรียนรู้
::: 1.5 การวัดและประเมินผล :::
1) แบบทดสอบก่อน-หลังเรียนเมื่อผู้เรียนเรียนรู้จบหน่วยการเรียนรู้
2) แบบฝึกหัดในเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง คืนชีวิตให้สดใส
3) แบบประเมินชิ้นงาน “ปัญหาชีวิตต้องหมดไป” เรื่อง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา (อริยสัจ 4) ไปใช้ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริงได้
4) แบบสังเกตพฤติกรรม กระบวนการและทักษะการคิดเชิงวิจารณญาณของผู้เรียน
5) แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๑ ด้านการจัดการเรียนรู้
::: 1.6 ศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ :::
1) ทักษะการคิดเชิงวิจารณญาณ
2) กระบวนการพัฒนาการคิดขั้นสูงเชิงระบบ GPAS 5 Steps
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๑ ด้านการจัดการเรียนรู้
::: 1.7 จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน :::
1) เร้าความสนใจด้วย สื่อการสอน ที่นำนวัตกรรม เทคโนโลยี ที่ทันสมัย เข้ามาใช้ในการจัดการชั้นเรียน
2) ผู้เรียนทุกคนมีโอกาสนำเสนอความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ โดยผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ซึ่งเป็นแก่นความรู้ได้อย่างแท้จริง
3) เชื่อมโยงหลักธรรมทาง พระพุทธศาสนากับชีวิตจริงในการดำรงชีวิตของผู้เรียน โดยให้ผู้เรียนได้สร้างสตอรี่บอร์ด เรื่องสั้น ที่เกิดขึ้นในชีวิตจริง โดยผู้เรียนช่วยกันนำเสนอด้วยการประยุกต์ใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา (อริยสัจ 4)
4) ใช้สื่อการเรียนการสอน คือ เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
5) ใช้รูปแบบการสอนด้วยกระบวนการพัฒนาการคิดขั้นสูงเชิงระบบ GPAS 5 Steps
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๑ ด้านการจัดการเรียนรู้
::: 1.8 อบรมและพัฒนาคุณลักษณะ ที่ดีของผู้เรียน :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๒ ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้
::: ลักษณะงาน :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๒ ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้
::: 2.1 จัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๒ ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้
::: 2.2 ดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน :::
- มีการวิเคราะห์ผู้เรียน โดยใช้ผลการเรียนจากภาคเรียนที่ 1/2565 ในรายวิชาพระพุทธศาสนา
- หลังพบผู้เรียนที่ขาดทักษะการคิดเชิงวิจารณญาณ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จึงได้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยกระบวนการพัฒนาการคิดขั้นสูงเชิงระบบ GPAS 5 Steps ในรายวิชาพระพุทธศาสนา เรื่อง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา (อริยสัจ 4) เพื่อพัฒนา และแก้ปัญหาผู้เรียนให้มีทักษะการคิดเชิงวิจารณญาณที่สูงขึ้นตามค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๒ ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้
::: 2.3 ปฏิบัติงานวิชาการ และงานอื่นๆ ของสถานศึกษา :::
- งานประสานชุมนุมกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
- หัวหน้างานโรงเรียนสุจริต
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๒ ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้
::: 2.4 ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหรือสถานประกอบการ :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๓ ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
::: ลักษณะงาน :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๓ ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
::: 3.1 พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๓ ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
::: 3.2 มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๓ ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
::: 3.3 นำความรู้ ความสามารถ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และการพัฒนานวัตกรรม การจัดการเรียนรู้ :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ส่วนที่ 2
ประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
::: ประเด็นท้าทาย :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล
วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล (ต่อ)
ผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
3.1 เชิงปริมาณ
ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 10 ห้อง รวมจำนวนผู้เรียนทั้งหมด 318 คน ดังนี ้ ได้มีการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาพระพุทธศาสนา เรื่อง หน้าที่ชาวพุทธ ของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที ่ 1 ด้วย การจัดการเรียนรู ้แบบร่วมมือ(Cooperative Learning) เพื่อแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียน 1) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง หน้าที่ชาวพุทธ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ของผู ้เรียน ทั้งหมด 2) ผู้เรียนร้อยละ 80 มี คุณลักษณะอันพึงประสงค์สูงกว่าที่ โรงเรียนกำหนด 3) ผู้เรียนร้อยละ 80 สามารถอ่าน คิด วิเคราะห์ เขียนสื่อความ จากเรื่องที่เรียนรู้สูงกว่าที่โรงเรียนกำหนด
ผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
3.2 เชิงคุณภาพ
ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 10 ห้อง รวมจำนวนผู้เรียนทั้งหมด 318 คน มีทักษะทำงานร่วมกันโดยในกลุ่มประกอบด้วยสมาชิกที่มีความสามารถแตกต่างกัน มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น มีการช่วยเหลือพึ่งพาซึ่งกันและกัน และมีความรับผิดชอบร่วมกัน ทั้งในส่วนตนและส่วนรวม เพื่อให้ตนเองและ สมาชิกทุกคนในกลุ่มประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ จากการพัฒนาตนเอง และการเข้าร่วมชุมชนการ เรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)